ไวยากรณ์ภาษาจาวา


2.ไวยากรณ์ภาษาจาวา


1.การประกาศ class (คลาส)

โปรแกรมภาษาจาวาแต่ละโปรแกรมจะประกอบไปด้วยคลาสอย่างน้อย หนึ่งคลาส โดยมีรูปแบบการประกาศ ดังนี้
[modifier] class Classname { [class member]                              }

- Modifier คือคีย์เวิร์ด ของภาษาจาวาที่ใช้ในการอธิบายระดับการเข้าถึง (Access modifier)- class คือคีย์เวิร์ด ของภาษาจาวา เพื่อระบุว่าเป็นการประกาศคลาส- Classname คือชื่อคลาส- Class member คือเมธอดหรือคุณลักษณะ
2.การประกาศ attributes (คุณลักษณะ)


คุณลักษณะของออปเจ็ค คือตัวแปรหรือค่าคงที่ซึ่งประกาศภายในออปเจ็ค โดยมีตัวอย่างการประกาศคือ[modifier] dataType attributeName;- Modifier คือคีย์เวิร์ดของภาษาจาวาที่อธิบายคุณสมบัติต่างๆ ของตัวแปรหรือค่าคงที่- dataType คือชนิดข้อมูลซึ่งอาจเป็นชนิดข้อมูลพื้นฐานหรือชนิดคลาส- attributeName คือชื่อของคุณลักษณะ

3.การประกาศ methods
ภาษาจาวากำหนดรูปแบบของการประกาศเมธอดที่อยู่ในคลาสไว้ดังนี้[modifier] return_type methodName ([argument]) { [method body]
}
- Modifier คือคีย์เวิร์ด ของภาษาจาวาที่ใช้ในการอธิบายระดับการเข้าถึง (Access modifier)- Return_type คือชนิดข้อมูลของค่าที่จะมีการส่งกลับ- methodName คือชื่อของเมธอด- Arguments คือตัวแปรที่ใช้ในการรับข้อมูลที่ออปเจ็คส่งมาให้- Method body คือคำสั่งต่างๆ ของภาษาจาวาที่อยู่ในเมธอด

4.การประกาศ object

4.การประกาศ object
คำสั่งที่ใช้ในการสร้างออปเจ็คจะมีรูปแบบ ดังนี้objectName = new ClassName ([arguments]);
- objectName คือชื่อของออปเจ็ค- new คือคีย์เวิร์ดของภาษาจาวาเพื่อใช้ในการสร้างออปเจ็ค- ClassName คือชื่อของคลาส- Arguments คือค่าที่ต้องการส่งผ่านในการเรียก Contructor

5.การเรียกใช้ methods

แบบที่ 1 : เรียกใช้ Constructor และใช้พื้นที่ในหน่วยความจำclass hello1 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane(); }}
แบบที่ 2 : แยกประกาศใช้คลาสและใช้พื้นที่ในหน่วยความจำclass hello2 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc; abc = new TAirPlane(); }}
แบบที่ 3 : ใช้พื้นที่ในหน่วยความจำ และเป็นการเรียกใช้ constructor ซึ่ง class นี้ ต้องอยู่ใน Directory เดียวกันclass hello3 { public static void main(String args[]) { new TAirPlane(); }}
แบบที่ 4 : เรียกใช้ method Fly() แต่จะเรียก constructor มาก่อน ถ้า class นั้นมี constructorclass hello4 { public static void main(String args[]) { new TAirPlane().Fly(); }}
แบบที่ 5 : เมื่อสร้างวัตถุขึ้นมา สามารถเรียกใช้ method อื่น โดย constructor ทำงานเฉพาะครั้งแรกclass hello5 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane();abc.Fly(); abc.Land(); }}
แบบที่ 6 : แสดงตัวอย่างการเรียก main และต้องส่ง Array of String เข้าไปclass hello6 { public static void main(String args[]) { TAirPlane abc = new TAirPlane(); String a[] = {}; // new String[0];abc.main(a); }}
แบบที่ 7 : เรียกใช้ method ภายในคลาสเดียวกันclass hello7 { public static void main(String args[]) { minihello(); } static void minihello() { System.out.println("result of mini hello"); }}
แบบที่ 8 : เรียกใช้ method แบบอ้างชื่อคลาส ในคลาสเดียวกันclass hello8 { public static void main(String args[]) { hello8 x = new hello8(); x.minihello(); } static void minihello() {System.out.println("result of mini hello"); }}
แบบที่ 9 : เรียกใช้ method แบบไม่กำหนด method เป็น Static พร้อมรับ และคืนค่า:: ผลลัพธ์คือ 8class hello9 { public static void main(String args[]) { hello9 xx = new hello9();System.out.println(xx.oho(4)); } int oho(int x) { return (x * 2); }}
แบบที่ 10 : เรียกใช้ method ภายในคลาสเดียวกัน โดย method สามารถรับ และส่งค่าได้:: เรียก method ใน static ตัว method ที่ถูกเรียกต้องเป็น static ด้วยclass hello10 { public static void main(String args[]) { System.out.println(oho(5)); } static int oho(int x) { x = x * 2; return x; }}
แบบที่ 11 : ใช้ extends เพื่อการสืบทอด (Inheritance)

:: Constructor ของ TAirPlane จะไม่ถูกเรียกมาทำงานclass hello11 extends TAirPlane {
public static void main(String args[]) {  Fly(); Land(); }}
แบบที่ 12 : ใช้ extends เพื่อการสืบทอด (Inheritance) แบบผ่าน constructor
:: Constructor ของ TAirPlane จะถูกเรียกมาทำงาน
class hello12 extends TAirPlane {
hello12() { Fly();  Land(); } public static void main(String args[]) {  new hello12(); }}
การเรียกใช้ attributes
การเรียกใช้แบบที่ 1
syntax:ClassName object = new ClassName().attributeName;
example:Person bamboo = new Person().name;
การเรียกใช้ attribute แบบที่ 2
syntax:ClassName object = new ClassName();
object.attributeName;
examplePerson bamboo = new Person();
bamboo.name = "bamboolabcode";
 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น